▥▦▩Thaidall http://ajinta-thaidall.blogspot.com/


วันอังคารที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ห่วง 3

เขียนโดย Unknown ที่ 20:43 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2554

เมตตาตัวเองก่อน

เขียนโดย Unknown ที่ 00:17 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

วันศุกร์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2554

แค่สัมมาทิฏฐิก็อริยะ...

เขียนโดย Unknown ที่ 00:19 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

วันจันทร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ควรเป็นอิสระ

เขียนโดย Unknown ที่ 10:11 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

เห็นแก่ธรรม

เขียนโดย Unknown ที่ 10:08 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

จิตห่วงใย

เขียนโดย Unknown ที่ 10:00 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

เมืองน่าอยู่

เขียนโดย Unknown ที่ 09:57 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

วันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ทรมานจิตใจเป็นเวรกรรมแท้

เขียนโดย Unknown ที่ 01:02 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

ทางสวรรค์หรือนรกเริ่มที่ก้าวแรกเสมอ


เขียนโดย Unknown ที่ 01:00 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

ไม่มีอะไรเที่ยงแม้แต่ใจเราเอง

เขียนโดย Unknown ที่ 00:54 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

ธรรมของบัณฑิต

เขียนโดย Unknown ที่ 00:41 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

วันจันทร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2554

อาทิตย์ผู้สง่างาม

เขียนโดย Unknown ที่ 23:16 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

เป็นตัวของตัวเองพึ่งตนเองก็พอ

เขียนโดย Unknown ที่ 23:15 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

จิตสดใสเมื่อใจสดใส

เขียนโดย Unknown ที่ 23:01 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

วันอาทิตย์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ความลับไม่มีในมนุษย์กายละเอียด

เขียนโดย Unknown ที่ 23:42 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

อิสรภาพ

เขียนโดย Unknown ที่ 22:51 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest
บทความที่ใหม่กว่า บทความที่เก่ากว่า หน้าแรก
สมัครสมาชิก: บทความ (Atom)

กุศลกรรมบถ


กุศลกรรมบถ หมายถึง ทางแห่งกรรมดี,ทางทำดี, ทางแห่งกรรมที่เป็นกุศล, กรรมดีอันเป็นทางนำไปสู่ความสุขความเจริญหรือสุคติ (wholesome course of action) เป็นธรรมส่วนสุจริต 10 ประการ จึงเรียกชื่อว่า
กุศลกรรมบถ 10

คำว่า กรรมบถ (อ่านว่า กำมะบด) แปลว่า ทางแห่งกรรม คือ การกระทำที่เข้าทางเป็นกรรมหรือที่นับว่าเป็นกรรม หมายถึง ทางแห่งกุศลกรรม คือการกระทำที่นับว่าเป็นความดีได้แก่
ที่เป็นกายกรรม มี 3 อย่าง คือ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม
ที่เป็นวจีกรรม มี 4 คือ ไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดเพ้อเจ้อ
ที่เป็นมโนกรรม มี 3 คือ ไม่โลภอยากได้ของเขา ไม่พยาบาทปองร้าย เห็นชอบตามคลองธรรม (สัมมาทิฐิ)
กุศลกรรมบถ ก็คือสุจริตทางกาย ทางวาจา และทางใจนั่นเอง

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%96

วิธีสร้างบุญบารมี




บุญ ความหมายตามพจนานุกรมพุทธศาสน์ของพระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) กล่าวว่า บุญ คือ เครื่องชำระสันดาน ความดี กุศล ความสุข ความประพฑติชอบทางกาย วาจา และใจ กุศลธรรม
บารมี คือ คุณความดีที่บำเพ็ญอย่างยิ่งยวด เพื่อบรรลุจุดหมายอันสูงยิ่ง

วิธีสร้างบุญบารมีในพระพุทธศาสนามีอยู่ 3 ขั้นตอน คือการให้ทาน การถือศีล และการเจริญภาวนา ที่นิยมเรียกกันว่า "ทาน ศีล ภาวนา"


http://www.baanjomyut.com/pratripidok/sungkarad/04.html

http://clongklon.blogspot.com/2009/07/blog-post_11.html

การอุปถัมภ์

การอุปถัมภ์ ในความหมายโดยทั่วไป คือ การค้ำจุน การค้ำชู การสนับสนุน การเลี้ยงดูในทางการเมืองซึ่งใช้คำว่า ระบบอุปถัมภ์ หมายถึง การได้รับสิทธิพิเศษจากผู้ใหญ่หรือญาติมิตรของตน เป็นระบบที่ตรงกันข้ามกับระบบความชอบธรรมซึ่งนิยมใช้เป็นหลักในปัจจุบัน

ศาสนา


ศาสนาเป็นสิ่งที่ควบคุม และประสานความสัมพันธ์ของมนุษย์ ให้อยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข คือ ให้มีหลักการ ค่านิยม วัฒนธรรมร่วมกันและวิถีทางที่มนุษย์เลือกใช้ในการดำรงชีวิต ให้สังคมเป็นหนึ่งเดียวกัน มีแนวทางไปในทิศทางเดียวกัน ด้วยหลักจริยธรรม คุณธรรม ศิลธรรมที่เป็นบรรทัดฐานเดียวกัน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี



คำว่า "ศาสนา" เป็นภาษาสันสฤต ตรงกับภาษอังกฤษว่า "Religion" ที่มาจากคำละตินว่า "Religio" แปลว่า "สัมพันธ์" หรือ "ผูกพัน" หมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า ตรงกับภาษาบาลี "สาสน" แปลว่า คำสั่งสอน "คำสั่ง" หมายถึง ข้อห้ามทำความชั่ว ที่เรียกว่าศีลหรือวินัย และเป็น "คำสอน" หมายถึงคำแนะนำให้ทำความดีที่เรียกธรรมะ รวมเรียกว่าศีลธรรม



พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้คำนิยามไว้ว่า ศาสนา คือ "ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลักคือ แสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทำตามความเห็นหรือตามำสั่งสอนในความเชื่อถือนั้น ๆ"
ที่มา : เดือน คำดี ; ศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสร์, 2541
--------------------------------------------------------
โดย : นางสาว พรวิจิตร ชาติชำนาญ, คอนสารวิทยาคม, วันที่ 22 พฤษภาคม 2545





อารมณ์

อารมณ์ แปลว่า สิ่งหน่วงเหนี่ยวจิต, สิ่งที่ยึดดึงจิตไว้ โดยทั่วไป หมายถึงความรู้สึกนึกคิดหรือจิตใจที่แปรปรวน เปลี่ยนแปลงไปแต่ละช่วงเวลา เช่นที่ใช้ว่า อารมณ์ดี อารมณ์เย็น ไม่มีอารมณ์ เป็นต้น

ในทางพุทธศาสนา อารมณ์หมายถึงสิ่งที่จิตไปเกาะเกี่ยวอยู่แล้วยึดจิตไว้ มี 6 อย่าง คือรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรม มีชื่อเรียกโดยเฉพาะว่า รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ ธรรมารมณ์

กรด เกลือ กลาง ด่าง เบส

กรด

กรด ๑
ความหมาย

[กฺรด] น. สารอย่างหนึ่ง มีรสเปรี้ยว โดยปรกติกัดหรือทําให้สิ่งอื่นแปรไป; (เคมี) มีความหมายหลายอย่าง สุดแล้วแต่ทฤษฎีที่ใช้เป็นหลักกําหนด คือ เป็นสารเคมีที่ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน และเมื่อสารนี้ละลายน้ำเป็นสารละลายแล้ว ไฮโดรเจนที่มีอยู่ทั้งหมดหรือบางส่วนต้องแปรสภาพออกมาเป็นไฮโดรเนียมไอออน (H3O+)สารละลายที่ได้มีรสเปรี้ยวเปลี่ยนสีลิตมัสสีน้ำเงินเป็นสีแดงได้; สารเคมีที่มีสมบัติจ่ายโปรตอนให้แก่สารอื่นได้; สารเคมีที่มีสมบัติรับอิเล็กตรอนคู่หนึ่งมาจากสารอื่นได้. (อ. acid).


กรด ๒
ความหมาย

[กฺรด] ว. คมมีลักษณะที่กัดกร่อนหรือตัดสิ่งของได้ เช่น น้ำกรด = น้ำที่คม ลมกรด = ลมที่คม.


กรด ๓
ความหมาย

[กฺรด] น. ชื่อไม้เถาชนิด Combretum tetralophum C.B. Clarke ในวงศ์ Combretaceae มักขึ้นในที่น้ำท่วม เช่น ตามฝั่งน้ำลําคลอง ใบโดยมากออกรอบข้อ ๒ หรือ ๓ ใบ ใบอ่อนสีม่วงดํา เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเขียว ผลมีสันแข็งเป็น ๔ ครีบ, เถาวัลย์กรด ก็เรียก; อีกชนิดหนึ่ง คือ C. trifoliatum Vent. มีลักษณะคล้ายกันมาก แต่ผลมี ๕ ครีบ เช่น กรดกระถินอินจันพรรณไม้. (นิ. อิเหนา), สีเอยเจ้าสีสด เจ้าปลูกต้นกรดไว้ริมท่า. (กล่อมเด็ก).


กรด ๔
ความหมาย

[กฺรด] น. ภาชนะใส่น้ำเทพมนตร์ของพราหมณ์ ลักษณะเหมือนคนโทมีฝาปิด มีพวยอย่างกาน้ำ. (เลือนมาจาก ป. กลส; ส. กลศ).


กรด ๕
ความหมาย

[กฺรด] (ปาก) ว. ยิ่ง, มาก, เช่น ไวเป็นกรด ฉลาดเป็นกรด.

เกลือ
ความหมาย

[เกฺลือ] น. วัตถุที่มีรสเค็ม ใช้ประกอบอาหารเป็นต้น โดยทั่วไปได้มาจากน้ำทะเล, เกลือสมุทร ก็เรียก; (วิทยา) สารประกอบซึ่งประกอบด้วยโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะกับอนุมูลกรด.


เบส
ความหมาย

(เคมี) น. สารเคมีซึ่งทําปฏิกิริยากับกรด แล้วให้ผลเป็นเกลือหรือเกลือกับนํ้าเท่านั้น, สารเคมีที่มีสมบัติรับโปรตอนมาจากสารอื่นได้, สารเคมีที่มีสมบัติจ่ายอิเล็กตรอนคู่หนึ่งให้แก่สารอื่นได้, สารเคมีซึ่งเมื่อละลายนํ้าแล้วให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-), สารละลายที่เปลี่ยนสีลิตมัสสีแดงเป็นสีนํ้าเงินได้. (อ. base).

ด่าง ๑
ความหมาย

น. นํ้าขี้เถ้าที่เกรอะหรือแช่ไว้ มีรสกร่อย ๆ สําหรับทํายาและกัดสิ่งของ; (วิทยา) สารประกอบจําพวกไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไล ซึ่งละลายนํ้าได้ดี มีรสฝาด ถูกมือลื่นคล้ายสบู่.


ด่าง ๒
ความหมาย

ว. เป็นดวงหรือเป็นจุดขาว ๆ ผิดกับสีพื้น เช่น วัวด่าง มือด่าง, มีสีจางกว่าสีเดิมเป็นแห่ง ๆ เช่น ผ้าด่าง.


กลาง
ความหมาย

[กฺลาง] น. ส่วนที่ไม่ค่อนไปข้างใดข้างหนึ่ง, โดยปริยายหมายความว่า ในที่หรือเวลาระหว่าง เช่น กลางฝน; ที่รวม, ที่รวมกิจการงานที่มีสาขาย่อยออกไป, เช่น สํานักงานกลาง ไปรษณีย์กลาง.





มนุษย์

มนุษย-, มนุษย์
ความหมาย

[มะนุดสะยะ-, มะนุด] น. สัตว์ที่รู้จักใช้เหตุผล, สัตว์ที่มีจิตใจสูง, คน. (ส.; ป. มนุสฺส).


หยิน-หยาง

หยิน-หยางเป็นสัญลักษณ์ของ ลัทธิเต๋าลัทธิเต๋าเป็นลัทธิที่จะทำความเข้าใจได้ยาก เพราะการเข้าถึงลัทธินี้จะต้องมีสัมผัสพิเศษที่สามารถเข้าถึงภาวะความจริงได้
หยิน-หยาง หรือกฏแห่งความสมดุลของธรรมชาติ เป็นปรัชญาของลัทธิเต๋าที่เชื่อว่าสรรพสิ่งบนโลกใบนี้จะต้องมีสิ่งคู่กันเสมอ
มีมืดก็ต้องมีสว่าง มีร้อนก็ต้องมีเย็น มีผู้หญิงก็ต้องมีผู้ชาย หากขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไป หรือมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากหรือน้อยเกินไป
ก็จะเกิดภาวะไม่สมดุลซึ่งจะนำหายนะมาให้


หยิน-เป็นตัวแทนของความมืดมิด ไม่เคลื่อนไหว อ่อนล้า เศร้าโศก ตวามตาย ความหนาวเย็น ผู้หญิง
หยาง-เป็นตัวแทนของความกระตือรือร้น พลังงาน แสงสว่าง ผู้ชาย การเกิด การเคลื่อนไหวที่ไม่หยุดนิ่ง

วิเคราะห์ปริศนาธรรม

  • หยิน-หยาง
  • โทโฮ วิกิพีเดีย ไทย ปริศนาดาว

คลังบทความของบล็อก

  • ►  2013 (17)
    • ►  มกราคม (17)
  • ►  2012 (75)
    • ►  ธันวาคม (3)
    • ►  พฤศจิกายน (9)
    • ►  ตุลาคม (10)
    • ►  กันยายน (8)
    • ►  สิงหาคม (10)
    • ►  กรกฎาคม (21)
    • ►  มิถุนายน (6)
    • ►  พฤษภาคม (2)
    • ►  เมษายน (6)
  • ▼  2011 (62)
    • ►  ธันวาคม (1)
    • ►  พฤศจิกายน (11)
    • ▼  ตุลาคม (16)
      • ห่วง 3
      • เมตตาตัวเองก่อน
      • แค่สัมมาทิฏฐิก็อริยะ...
      • ควรเป็นอิสระ
      • เห็นแก่ธรรม
      • จิตห่วงใย
      • เมืองน่าอยู่
      • ทรมานจิตใจเป็นเวรกรรมแท้
      • ทางสวรรค์หรือนรกเริ่มที่ก้าวแรกเสมอ
      • ไม่มีอะไรเที่ยงแม้แต่ใจเราเอง
      • ธรรมของบัณฑิต
      • อาทิตย์ผู้สง่างาม
      • เป็นตัวของตัวเองพึ่งตนเองก็พอ
      • จิตสดใสเมื่อใจสดใส
      • ความลับไม่มีในมนุษย์กายละเอียด
      • อิสรภาพ
    • ►  กันยายน (34)

۞น่าสนใจ ۞

  • ธรรมบรรยาย โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
  • เสียงธรรม ความรู้ประวัติพระอริยะ
  • ธรรมะพีเดีย รวมธรรมะ เสียงธรรม บทความ

หยิน หยาง

หยิน หยาง
กฏแห่งความสมดุลของธรรมชาติ จาก sabre.exteen.com

ค้นหาบล็อกนี้

บทความที่ได้รับความนิยม

  • ลักษณะของคนเห็นแก่ตัว _พุทธทาสภิกขุ
  • ยศและลาภ หาบไป ไม่ได้แน่
    ยศและลาภ หาบไป ไม่ได้แน่ มีเพียงแต่ ต้นทุน บุญกุศล ทรัพย์สมบัติ ทิ้งไว้ ให้ปวงชน แม้ร่างตน เขาก็เอา ไปเผาไฟ ฯ ... เมื่อเจ้ามา มีอะไร...
  • โลกียะ - โลกุตระ
    โลกียะ = โลก และร่างกาย,ความรู้สึกต่างๆ ,เวทนา,สัญญา, ความคิดต่างๆ และทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้ สิ่งล้วนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง เป็น...
  • โอวาทธนัญชัยเศรษฐี ๑๐ ประการ
    โอวาทธนัญชัยเศรษฐี ๑๐ ประการ (จาก ธรรมบท ภาค ๓ ) โอวาทของธนัญชัยเศรษฐีได้ให้ไว้แก่นางวิสาขาก่อนออกเรือน ถือว่าเป็นข้อวัตรปฏิบัติที่ดีสำ...
  • สอนให้รู้จักกฎแห่งเหตุผล
     กฎแห่งเหตุผล สอนว่าสิ่งทั้งหลายทั้งปวง มีเหตุปัจจัย เป็นไป ตามเหตุปัจจัย มีกฎในตัวของมันเอง เรียกว่า กฎของธรรมชาติ หรือ กฎแห่งกรรม สอนให...
  • ไปไม่กลับ หลับไม่ตื่น ฟื้นไม่มี หนีไม่พ้น
    ไปไม่กลับ  หลับไม่ตื่น  ฟื้นไม่มี  หนีไม่พ้น    ที่ติดอยู่ที่ตาลปัตของพระ  เมื่อ เวลาสวดพระอภิธรรมในงานศพ     เป็นคำแสดง    มรณสติ    แก่ผู...
  • เป็นมนุษย์หรือเป็นคน(พุทธทาส)
  • ตัวอย่างสังคม(หลวงพ่อจรัล)
  • อย่าจับให้มั่น อย่าคั่นให้ตาย
    " อดีตคือความฝัน ปัจจุบันคือความจริง อนาคตเป็นสิ่งไม่แน่นอน อย่าจับให้มั่น อย่าคั่นให้ตาย จะเสียใจตลอดชีวิต " พระราชสุทธิญ...
  • คนชอบนินทาคือคนที่ชอบกินของเน่า
    คนชอบนินทาคือคนที่ชอบกินของเน่ า ถ้าเราร่วมผสมโรงไปกับเขา แสดงว่าเราเองก็ชอบกินของเน่าไม ่เบาเหมือนกัน ~พุทธทาส Tj Richy

ผู้ติดตาม

เกี่ยวกับฉัน

Unknown
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน


จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

หน้าต่างรูปภาพ ธีม. ขับเคลื่อนโดย Blogger.